ถนนอาชีพ กลุ่ม2

โครงงานเรื่อง...ปลาหมึกย่าง
จัดทำโดย
เด็กหญิงสุภาวดี บุญสลุด
เด็กหญิงนุชจิรา จุ่มภู่
เด็กชายบูรพา โกฉิม
เด็กชายรัชชานนท์ หอมเจริญ
เด็กชายธนา หว่างเชนทร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1

ครูที่ปรึกษาบทคัดย่อ

ครูน้ำค้าง เคียงข้าง
ครูทองเหรียญ กลิ่นแย้ม
โรงเรียนบ้านวังอ้อ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต1

บทคัดย่อ
ปลาหมึกแต่ละชนิดจะมีปริมาณสารแคดเมียมไม่เท่ากัน โดยจะพบแคดเมียมในปลาหมึกสายและปลาหมึกกระดองมากกว่าปลาหมึกกล้วย เนื่องจากปลาหมึกกล้วยหากินกลางทะเล ส่วนปลาหมึกสายและปลาหมึกกระดองหากินตามผิวดินเขตน้ำตื้น ซึ่งตะกอนดินในเขตน้ำตื้นจะมีโลหะหนักสะสมอยู่มากกว่า ดังนั้น หากเลือกได้ กินปลาหมึกกล้วยจะปลอดภัยกว่าปลาหมึกสายหรือปลาหมึกกระดอง      
กิตติกรรมประกาศ
กระผม/ดิฉันขอขอบคุณหนังสือเรื่องอาหารทะเลมีคุณค่า และคุณแม่ที่ช่วยแนะนำวิธีทำอาหาร และขอขอบคุณครูที่ปรึกษาที่แน
ะนำเรื่องการทำอาหาร
คำนำ
        รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอโครงงาน  การงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  กระผม/ดิฉันได้ศึกษาค้นคว้าจากหนังสืออาหารทะเลมีคุณค่า โดยปฎิบัติจริงจากเอกสาร รวบรวมข้อมูล เพื่อศึกษา

วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.     เพื่อให้ทุกคนมีสุขภาพแข็งแรง
2.     เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.     ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
สมมติฐานการศึกษา
  ทุกคนต้องหันมารับประทานปลาหมึกและได้รับประโยชน์จากปลาหมึกด้วย

บทที่2
การศึกษาเอกสารอ้างอิง
       ปลาหมึก                            squid, octopus, cuttlefish
        ชื่อวิทยาศาสตร์                  Coleoidea
        วงศ์                                     squid
        ชื่ออื่นๆ ปลาบึก(ภาคเหนือปลาอีอื้อ(ภาคอีสานปลาหมึก(ภาคใต้,ภาคกลาง)
         ปลาหมึกย่างที่ใครๆหลายคนชอบกิน รวมทั้งผู้เขียนเองด้วย ความอร่อยอยู่ที่ปลาหมึกที่สด กรอบไม่คาว ราดด้วยน้ำจิ้ม เปรี้ยว หวานเผ็ด เข้มข้นถูกใจ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้

          วิตามิน
            ประโยชน์
        วิตามินK
ปลาหมึกมีโอเมกา 3
        วิตามินB2
ดูอ่อนกว่าวัย
        วิตามินD
ป้องกันโรคคอพอก
        วิตามินE
ยับยั้งเนื้องอกได้
        วิตามินPP

        โอเมกา3

        แคลเซียม



วันที่
1
18 มกราคม 2560

2
19 มกราคม 2560
 

3
20 มกราคม 2560
  กิจกรรมที่ปฎิบัติ
-เลือกหัวข้อเรื่องการทำโครงงานและนำเสนอครู พร้อมทั้งเหตุผลในการนำเสนอครูพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นและให้เหตุผล
-ประชุมในกลุ่มให้ทุกคนเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ

-ลงมือปฏิบัติจริง โดยสมาชิกในกลุ่มช่วยกันปฏิบัติ
สถานที่ทำกิจกรรม

ห้องเรียน ห้อง 1


ห้องเรียน ห้อง 1


ห้องเรียน ห้อง 1
ผู้รับผิดชอบ
ครูที่ปรึกษาและนักเรียน

ผู้จัดทำโครงงานที่ปรึกษา

วัสดุ
1.     ปลาหมึก             2 กิโลกรัม
2.     สีผสมอาหาร         1 ซอง
3.     พริก                 0.5 กิโลกรัม
4.     มะนาว               3 ถ้วย
5.     กระเทียม            4 ขีด
6.     น้ำกระเทียมดอง     2 ถ้วย
7.     น้ำปลา              3 ถ้วย
8.     ชูรส                2 ช้อนโต๊ะ
9.     น้ำตาลทราย
อุปกรณ์
1.    เตาถ่าน              9.กระบวย
2.    เตาย่าง              10.กระติกน้ำ
3.    มีด                   11.หม้อนึ่ง
4.    เขียง
5.    เครื่องปั่น
6.    กะละมัง
7.    ถาด
8.    โหล
บทที่4
ผลการศึกษา
1.    ได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปลาหมึกย่าง
2.    ได้ศึกษาวิธีการทำปลาหมึกย่าง
3.    ได้นำปลาหมึกในท้องถิ้นมาแปรรูป
 images (1).jpg
51094cba5.jpg

บทที่ 5
สรุปผลการศึกษา

สรุปผลการศึกษา
    จากการศึกษาในครั้งนี้ทำให้เรารู้ว่าอาหารที่เราศึกษามีประโยชน์หรือไม่มีประโยชน์ ในด้านใดบ้าง 
และการศึกษาในครั้งนี้ยังสามารถนำไปเป็นอาชีพในชีวิตประจำวันหรือเป็นอาชีพเสริมก็ได้
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
1. ได้ความรู้จากการศึกษาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
2. ได้รู้ว่าอาหารที่เราศึกษามีคุณประโยชน์อย่างไร
3.ให้รู้เกี่ยวการแบ่งหน้าที่และช่วยออกความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม
4. มีความสามัคคีในการทำงาน
5. รู้เกี่ยวกับบัญชีรายรับรายจ่ายกำไรและขาดทุน
ข้อเสนอนะ
ควรนำไปเป็นอาชีพหรืออาชีพเสริม  และนำมาทำรับประทานในครอบครัวได้  แต่ราคาจะสูง


                         บัญชีรายรับ-รายจ่าย

              รายรับ                                  รายจ่าย

  ว/ด/ป
ลำดับที่


รายการ
จำนวนเงิน
ว/ด/ป
ลำดับที่


รายการ
จำนวน
ราคา
จำนวนเงิน
หมายเหตุ
18/12/59
1
รับเงินจากเพื่อนคนละ  150 บาท
750
19/12/59
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
ปลาหมึก
ลูกชิ้น
พริก
กระเทียม
น้ำกระเทียมดอง
น้ำปลา
มะนาว
ชูรส
ผักชี
สีผสมอาหาร
ไม้เสียบ
ถุงร้อน
3 กล.
3  ถุง
ขีด
4  ขีด
2  ถ้วย
4 ถ้วย
4  ถ้วย
4 ซอง
1  กำ
1  ซอง
1  มัด
1 แพ็ค
100
30
5
15
5
10
10
10
10
5
25
35
300
90
25
60
10
10
10
10
10
5
25
35
กรม

บรรณานุกรม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น